การจัดการศึกษาของสถาบันฯ
พัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระการประกอบการชุมชน เป็นผู้ประกอบการที่มีจิตวิญญาณและวิธีคิดอย่างผู้ประกอบการมีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบการชุมชนและนํามาใช้เป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาชีวิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชนสามารถใช้ข้อมูลในการคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหาการประกอบการชุมชนบูรณาการความรู้สาขาต่าง ๆ นําอดีตมาต่อยอดปรับให้เป็นปัจจุบัน และสร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต เพื่อพัฒนาชีวิตตนเอง และการประกอบการชุมชน ดํารงชีวิตเป็นแบบอย่างที่ดีต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม อยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและมีความสุข และเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงในชุมชนท้องถิ่นตน โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วิสัยทัศน์
สถาบันอุดมศึกษาต้นแบบของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
อัตลักษณ์
จัดการศึกษาและจัดการเรียนรู้ที่ผูกพันกับชุมชนท้องถิ่น ผสมผสานผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นเป็นฐาน ให้ความสำคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมอย่างสร้างสรรค์
ภารกิจ
ปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ หน้าที่ และอำนาจสถาบันอุดมศึกษา 5 ประการ
1. การจัดการศึกษา
2. การวิจัยและสร้างนวัตกรรม
3. การบริการวิชาการแก่สังคม
4. การทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
5. หน้าที่และอำนาจอื่นตามที่กฎหมายกำหนด
พันธกิจ
ปฏิบัติตามแผนพัฒนาสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน พ.ศ. 2566 – พ.ศ.2568 ผ่านโครงการของทุกส่วนงาน ภายใต้แนวคิดการออกแบบกิจกรรม 3 ลักษณะ คือ
1. กิจกรรมตามประเด็นประจำปี (Theme)
2. กิจกรรมที่สอดคล้องกับห้วงเวลาเฉพาะ (Seasonal topic)
3. กิจกรรมในหัวข้อที่อยู่ในความสนใจของสังคม (Trending topic )
ทั้งนี้ใช้แนวทางตามยุทธศาสตร์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ว่าด้วยการจัดระบบอุดมศึกษาใหม่ (Higher Education Transformation) โดยพัฒนาจุดแข็งตามอัตลักษณ์และศักยภาพของสถาบัน

ก้าวสู่การจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน
เริ่มก่อสร้างในปี 2552 แล้วเสร็จในปี 2554 โดยได้รับงบสนับสนุนจากบริษัท ปตท.จำกัด(มหาชน) เพื่อเป็นทุนการซื้อที่ดิน และก่อสร้างอาคารเรียน ของสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน
เริ่มก่อตั้งมูลนิธิสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (สสวช.)โดยความร่วมมือของภาคี 4 ฝ่ายได้แก่

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568)
คณะศิลปศาสตร์
สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
สาขาวิชาการพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรณาการ
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
บัณฑิตวิทยาลัย
สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน
หน่วยงานภายใน
สำนักวิจัยและพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
สำนักส่งเสริมวิชาการและคุณภาพการศึกษา
วารสารวิชาการ
Travel
ข้อมูลเผยแพร่
โครงการศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อชาวประมงพื้นบ้าน ในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง (Quantitative Research Report)
รายงานผลการติดตามการดำเนินโครงการ
หลักสูตรพัฒนาศักยภาพผู้นำเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนท้องถิ่นฝึกอบรมองค์การบริหารส่วนตำบลบางคนที
อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
รายงานโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (เผยแพร่)
การปรับตัวของชาวสวนมะพร้าวและพ่อค้าคนกลางในยุค Ai -Robotics : กรณีศึกษาชาวสวนมะพร้าวและพ่อค้าคนกลางในพื้นที่สองบุรี-ศรีมหาสมุทร
รายงานโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ์
การเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของพื้นที่ตลาดน้ำในยุค
AI – Robotic
: กรณีศึกษาตลาดน้ำจังหวัดสมุทรสงคราม
รายงานโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ์
การปรับตัวของชาวนาเกลือของพื้นที่
สองบุรี-ศรีมหาสมุทร :ความท้าทายเพื่อความอยู่รอดของชาวนาเกลือในยุคAI-Robotic
ข่าว/กิจกรรม ม.ชีวิต
VIDEO บรรยายพิเศษ
ชุมชนดีพอ สร้างภูมิคุ้มกันชุมชนปลอดภัยยาเสพติด
โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการความรู้สู่คลังปัญญาผู้สูงอายุจังหวัดสมุทรสงคราม
ปาฐกถาพิเศษ “ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
ประชุมหารือกับคณะผู้บริหารสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
โครงการขับเคลื่อนนวัตกรรมชุมชนดีพอและศูนย์เครือข่ายพุทธนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
อธิการบดีและผู้บริหารสถาบันฯเข้าร่วมเป็นเกียรติในพิธีมอบวุฒิบัตรให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพ ณ ศูนย์การเรียนรู้ภูทอง จังหวัดนครสวรรค์
งานเลี้ยงสังสรรค์ปีใหม่ พ.ศ.๒๕๖๘
งานหนึ่งทศวรรษ มหาวิทยาลัยชีวิตสุโขทัย ศบศ.ภาคเหนือ
กีฬาสีสัมพันธ์ “อีสานเกมส์ 67”
สื่อประชาสัมพันธ์
ความสำเร็จของนักศึกษา
ปริญญาชีวิต "เสน่ห์ไทย เสน่ห์เรา"
การสัมมนาโครงงานพัฒนาชีวิต
วันแห่งความภาคภูมิใจ
ติดต่อสอบถาม
สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน
เลขที่ 13/2 หมู่ที่ 1 ตำบลบางคนที
อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
75120
โทรศัพท์ 034 757 452 – 4
โทรสาร 034 757 460
อีเมล์ info@life.ac.th.